การชั่งน้ำหนักคุณค่าในระบอบประชาธิปไตย / ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์
ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์
Book Content
การชั่งน้ำหนักคุณค่าในระบอบประชาธิปไตย -- 1. การปะทะกันแห่งคุณค่าในกฎหมายรัฐธรรมนูญไทย -- 2. ความเป็นทรราชของคุณค่า -- 3. การพิทักษ์ประชาธิปไตยในทัศนะของฮันส์ เคลเซ่น -- 4. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ในรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตย -- 5. เสรีภาพในการนับถือศาสนาและหน้าที่ของรัฐในการวางตัวเป็นกลาง -- 6. การนิรโทษกรรมกับหลักนิติรัฐ -- ศาลรัฐธรรมนูญ – พิทักษ์รัฐธรรมนูญหรือพิทักษ์คุณค่าดั้งเดิม -- 7. ใครควรเป็นผู้พิทักรัฐธรรมนูญ ข้อโต้แย้งทางวิชาการระหว่างคาร์ล ชมิตต์ และฮันส์ เคลเซ่น -- 8. ตุลาการกับวิชาการ -- 9. เมื่อศาลรัฐธรรมนูญตั้งตนเองเหนือศาลอื่น : พิทักหรือบั่นทอนรัฐธรรมนูญ -- 10. พลังแห่งเหตุผลของคำพิพากษาในคดีการเมืองไทย -- สิทธิขั้นพื้นฐานในฐานะคุณค่าพื้นฐานแห่งรัฐธรรมนูญ และการปะทะกันของสิทธิขั้นพื้นฐาน -- 11. ข้อความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน -- 12. การแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาในความผิดฐานทำแท้งกับการชั่งน้ำนักสิทธิขั้นพื้นฐาน -- 13. เสียงระฆังโบสถ์กับชุมชน - เสียงพระสวดกับคอนโดมิเนียม : สังคมแห่งการชั่งน้ำหนักสิทธิขั้นพื้นฐานคือสังคมแห่งเหตุและผล -- 14. หน้าที่ของรัฐในการคุ้มครองชีวิตและสิทธิขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 -- 15. ทหารเป็นฆาตกร เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นกับความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทหน่วยงานของรัฐ (คำวินิจฉัยของศษลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ที่ BVerfGE 93, 266 ff.) -- 16. เสรีภาพของสื่อสารมวลชนกับการนำเสนข่าวที่ไม่เป็นความจริง เหตุผลในคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ในคดี Springer/Wallraff (BVerfGE 66, 166) -- 17. ทรงผมข้าราชการตำรวจ วินัย การรักษาภาพลักษณ์ หรือละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน 18. การเดินทางกลับบ้านเป็นสิทธิตามรัฐธรรมนูญ -- 19. เสรีภาพในการชุมนุมในระบอบประชาธิปไตย -- 20. การชุมนุมเพื่อต่อต้านการชุมนุม -- 21. อารยะขัดขืน : การคุ้มครองสิทธิสองชั้นสำหรับฝ่ายข้างน้อย? -- เสรีภาพทางวิชาการในฐานะคุณค่าพื้นฐานของระบบอุดมศึกษา -- 22. เสรีภาพทางวิชาการ - สิทธิขั้นพื้นฐานที่ขาดที่ใช้ในระบบอุดมศึกษาไทย -- 23. เสรีภาพทางวชาการในระบบกฎหมายเยอรมัน -- 24. Gottinger Sieben - กรแก้ไขรัฐธรรมนูญตามอำเภอใจของกษัตริย์และการต่อสู้ของศษสตราจารย์ 7 คน แห่งมหาวิทยาลัยเกิททิงเง่น -- 25. แห่งมหาวิทยาลัยเกิททิงเง่น (Gottinger) กับประวัติศาสตร์เสรีภาพทางวิชาการในประเทศเยอรมนี -- 26. เสรีภาพทางวิชาการกับการกระทำอันไม่สมควรทางวิชาการ (Academic Misconduct)